ผู้เยี่ยมชม
รายงานผลฝึกงานประจำเดือน พฤศจิกายน 51
จากการที่ได้ฝึกงานมาในระยะเวลา 1 เดือน ดิฉันได้ประสบการณ์ในการถ่ายบัตรประชาชน ออกบัตรประชาชน และอะไรหลายๆอย่าง ได้รู้ถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ได้ปฏิบัติงานที่นั้นว่าแต่ละวันพวกพี่เค้าได้ทำอะไรกันบ้าง และไดมีโอกาสในการได้พูดคุยกับประชาชนที่ได้ใช้บริการ นับว่าเป็นประสบการณ์อย่างหนึ่งของชีวิตแฃเลยที่เดียว
รายงานการฝึกงานประจำเดือนธันวาคม 2551
เดือนนี้ดิฉันได้เปลี่ยนงานจากที่เคยทำเกี่ยวกับถ่ายบัตรประชาชนได้ถูกเปลี่ยนไปอยู่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ซึ่งเป็นงานที่ยากมากเพราะต้องรู้เรื่องเกี่ยวกับข้อมูลฝ่ายทะเบียนราษฏร์ทั้งหมด เพราะเวลาประชาชนมาขอคำปรึกษาใดๆเราก็สามารถที่จะให้คำปรึกษาได้ทุกคำถามของปัญหา ตอนแรกก็ยังไม่ค่อยชำนาญพอทำไปสัประมาณ 1 อาทิตย์ก็เริ่มพอทำเป็นแต่ถ้าหากมีปัญหาใดๆก็จะปรึกษาพี่ที่ดูแลอยู่
รายงานผลประจำเดือนมกราคม
จากการที่ได้ฝึกมาทั้งหมด 3 เดือนเต็ม ดิฉันเหมือนได้ทำงานที่อำเภอนั้นจริงๆเพราะดิฉันทำงานที่นั้นเป็นทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการถ่ายรูปในบัตรประชาชน การแจ้งย้ายเข้า - ย้ายออก และอะไรอีกหลายอย่างมันคุ้นค่ากับการได้ไปฝึกจริงๆ
รายงานผลประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2552
นี่เป็นอาทิตย์สุดท้ายของการฝึกงาน รู้สึกใจหายอย่างไงไม่รู้ เพราะดิฉันฝึกงานตั้ง 3 เดือนมันรู้สึกผูกพันพอฝึกจบแล้วก็เลยแปลกแปลก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
5.แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
1. วัดมหาธาตุวรวิหาร
2. ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
3. เขาแก่นจันทร์
4. เขาวัง
5. เมืองโบราณคูบัว
6.วัดหนองหอย
7. หลวงพ่อแก่นจันทร์
2. ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
3. เขาแก่นจันทร์
4. เขาวัง
5. เมืองโบราณคูบัว
6.วัดหนองหอย
7. หลวงพ่อแก่นจันทร์
รัฐประศาสนศาสตร์
1. ควรมีพื้นฐานความรู้และชอบศึกษาในกลุ่มสาระฯ วิชาสังคมศึกษา โดยเฉพาะสาระการเรียนรู้ด้านหน้าที่พลเมือง และกฎหมาย หรือ ความรู้ทั่วไปทางรัฐศาสตร์ นั่นเอง
2. สนใจและติดตามข่าวสารบ้านเมืองโดยเฉพาะข่าวการเมือง ข่าวเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ข่าวเศรษฐกิจการเมือง และนโยบายของรัฐบาล โดยสามารถวิเคราะห์วิจารณ์เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านั้นได้อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล
3. ชอบและสนใจวิชาด้านการบริหารองค์กรขนาดใหญ่ (Bureaucracy) เพื่อการพัฒนาประเทศ (Development Administration) โดยเฉพาะองค์กรที่มิได้มุ่งแสวงหากำไร (Non-Profit Organization) แต่อย่างไรก็ตาม ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชานี้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือด้านการบริหารไปปรับใช้ในองค์กรธุรกิจที่แสวงหากำไรได้เช่นกัน
4. ต้องพร้อมที่จะเรียนรู้สหวิทยาการ เนื่องจากสาขาวิชานี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นๆ มากมาย เช่น เศรษฐศาสตร์การเงิน-การคลัง การบัญชี การบริหารและการจัดการ กฎหมายปกครอง การพัฒนาสังคม การสื่อสารองค์กร จิตวิทยา และรัฐศาสตร์สาขาอื่นๆ
5. ควรมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี
6. ต้องมีอุดมการณ์ที่จะทำงานเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน โดยไม่ใช้กลไกของระบบราชการมากอบโกยผลประโยชน์เข้าพวกพ้อง และเข้าใจดีถึงทฤษฎีการพัฒนาประเทศ ความเสมอภาค และความยุติธรรมทางสังคม
แหล่งงานสำหรับบัณฑิตสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์
1. แหล่งงานภาครัฐ บัณฑิตสาขาวิชานี้สามารถทำงานด้านบริหาร นโยบาย และแผนงานได้ทุกหน่วยราชการ ทุกกระทรวง ทบวง กรม กอง เช่น ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เลขานุการบริหาร นักวิชาการศึกษา ฯลฯ สำหรับผู้ที่มีความรู้ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาต่างประเทศดีก็สามารถทำงานเป็นเจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ หรือ นักการทูตได้ สำหรับในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชนก็มีตำแหน่งคล้ายคลึงกับหน่วยงานราชการ
2. แหล่งงานภาคเอกชน ตามที่ได้กล่าวแล้วว่า บัณฑิตสาขาวิชานี้ได้เรียนรู้ความรู้ และเครื่องมือทางการบริหารงานมากกว่าสาขาอื่นๆ ของวิชารัฐศาสตร์จึงทำให้บัณฑิตสามารถนำความรู้เทคนิคด้านการบริหารจัดการไปใช้ในการทำงานภาคเอกชนได้ดีในการบริหารงานทุกระดับของบริษัท โดยเฉพาะบัณฑิตที่มีความรู้การคำนวณ และภาษาดี ขอบข่ายงานก็ยิ่งจะกว้างขวางมากขึ้น เช่น นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูงที่สามารถวิเคราะห์การบริหารเศรษฐกิจมหภาคได้
การศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา
บัณฑิตสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโท หรือ เอก ในกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ได้เกือบทุกสาขา เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ปรัชญา ภาษาศาสตร์ จิตวิทยา นิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเอก เป็นต้น
บุคคลที่มีชื่อเสียงและสำเร็จการศึกษาสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (รป.บ. (ตำรวจ)) กวาง (กมลชนก เขมะโยธิน) อู๋ (ธนากร โปษยานนท์) พี่กี้ (อริสมันต์ พงษ์เรืองรอง) เม หรือ Mé (จีระนันท์ - - RS) สว. ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช ดร.รุ่ง แก้วแดง (รมช.ศึกษาธิการ) คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน (ปลัดกรุงเทพมหานคร) นางจุฑามาศ ศิริวรรณ (ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) และ ผู้ว่าราชการจังหวัดอีกมากมายทั่วประเทศ
2. สนใจและติดตามข่าวสารบ้านเมืองโดยเฉพาะข่าวการเมือง ข่าวเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน ข่าวเศรษฐกิจการเมือง และนโยบายของรัฐบาล โดยสามารถวิเคราะห์วิจารณ์เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านั้นได้อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล
3. ชอบและสนใจวิชาด้านการบริหารองค์กรขนาดใหญ่ (Bureaucracy) เพื่อการพัฒนาประเทศ (Development Administration) โดยเฉพาะองค์กรที่มิได้มุ่งแสวงหากำไร (Non-Profit Organization) แต่อย่างไรก็ตาม ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชานี้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือด้านการบริหารไปปรับใช้ในองค์กรธุรกิจที่แสวงหากำไรได้เช่นกัน
4. ต้องพร้อมที่จะเรียนรู้สหวิทยาการ เนื่องจากสาขาวิชานี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นๆ มากมาย เช่น เศรษฐศาสตร์การเงิน-การคลัง การบัญชี การบริหารและการจัดการ กฎหมายปกครอง การพัฒนาสังคม การสื่อสารองค์กร จิตวิทยา และรัฐศาสตร์สาขาอื่นๆ
5. ควรมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี
6. ต้องมีอุดมการณ์ที่จะทำงานเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน โดยไม่ใช้กลไกของระบบราชการมากอบโกยผลประโยชน์เข้าพวกพ้อง และเข้าใจดีถึงทฤษฎีการพัฒนาประเทศ ความเสมอภาค และความยุติธรรมทางสังคม
แหล่งงานสำหรับบัณฑิตสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์
1. แหล่งงานภาครัฐ บัณฑิตสาขาวิชานี้สามารถทำงานด้านบริหาร นโยบาย และแผนงานได้ทุกหน่วยราชการ ทุกกระทรวง ทบวง กรม กอง เช่น ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เลขานุการบริหาร นักวิชาการศึกษา ฯลฯ สำหรับผู้ที่มีความรู้ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาต่างประเทศดีก็สามารถทำงานเป็นเจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ หรือ นักการทูตได้ สำหรับในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชนก็มีตำแหน่งคล้ายคลึงกับหน่วยงานราชการ
2. แหล่งงานภาคเอกชน ตามที่ได้กล่าวแล้วว่า บัณฑิตสาขาวิชานี้ได้เรียนรู้ความรู้ และเครื่องมือทางการบริหารงานมากกว่าสาขาอื่นๆ ของวิชารัฐศาสตร์จึงทำให้บัณฑิตสามารถนำความรู้เทคนิคด้านการบริหารจัดการไปใช้ในการทำงานภาคเอกชนได้ดีในการบริหารงานทุกระดับของบริษัท โดยเฉพาะบัณฑิตที่มีความรู้การคำนวณ และภาษาดี ขอบข่ายงานก็ยิ่งจะกว้างขวางมากขึ้น เช่น นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูงที่สามารถวิเคราะห์การบริหารเศรษฐกิจมหภาคได้
การศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา
บัณฑิตสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโท หรือ เอก ในกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ได้เกือบทุกสาขา เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ปรัชญา ภาษาศาสตร์ จิตวิทยา นิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ ทุกสาขาวิชาเอก เป็นต้น
บุคคลที่มีชื่อเสียงและสำเร็จการศึกษาสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (รป.บ. (ตำรวจ)) กวาง (กมลชนก เขมะโยธิน) อู๋ (ธนากร โปษยานนท์) พี่กี้ (อริสมันต์ พงษ์เรืองรอง) เม หรือ Mé (จีระนันท์ - - RS) สว. ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช ดร.รุ่ง แก้วแดง (รมช.ศึกษาธิการ) คุณหญิงณฐนนท ทวีสิน (ปลัดกรุงเทพมหานคร) นางจุฑามาศ ศิริวรรณ (ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) และ ผู้ว่าราชการจังหวัดอีกมากมายทั่วประเทศ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น